รวมศาสตร์ของพระราชาเพื่อการบริหารจัดการน้ำ

รวมศาสตร์ของพระราชาเพื่อการบริหารจัดการน้ำ ด้วยสายพระเนตรและพระอัจฉริยภาพของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่ทรงพระราชทานแนวพระราชดำริในด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำที่ทรงพระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย เพื่อบรรเทาและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้งในระยะสั้นแบบเฉพาะหน้า และในระยะยาวอย่างยั่งยืน สามารถสรุปสาระสำคัญได้ ดังนี้ 1) การบริหารจัดการน้ำแล้ง อาทิ การสร้างอ่างกักเก็บน้ำ การสร้างฝายทดน้ำ และการขุดลอกหนองบึงที่ตื้นเขินให้สามารถระบายน้ำให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมไปถึงเพื่อกักเก็บน้ำเพื่อใช้ในการเพาะปลูกได้ต่อไป 2) การบริหารจัดการน้ำท่วม อาทิ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี เขื่อนขุนด่านปราการชล จังหวัดนครนายก 3) การปรับปรุงลำน้ำที่มีอยู่เดิมให้สามารถเพิ่มศักยภาพการผันน้ำมากขึ้น อาทิ โครงการปรับปรุงคลองลัดโพธิ์ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ และโครงการแก้มลิง เพื่อสำหรับพักมวลน้ำในฤดูน้ำหลากก่อนระบายลงสู่ทะเล เป็นต้น 4) การจัดการน้ำเสียด้วยวิธีการทางชีวภาพ ด้วยการใช้น้ำดีไล่น้ำเสีย และการนำผักตบชวามาเป็นส่วนช่วยในการบำบัดน้ำเสีย ในโครงการต่างๆ เช่น โครงการปรับปรุงบึงมักกะสัน และการใช้หลักกลศาสตร์ด้วยการใช้เครื่องจักรกลเติมออกซิเจนให้กับน้ำเสียเพื่อช่วยบำบัดน้ำเสียได้ดียิ่งขึ้น ข้อมูลโดย มูลนิธิมั่นพัฒนา

Call No. : -
Publisher : มูลนิธิมั่นพัฒนา
Published Date :
Category : ทั่วไป
Page : 1
Rating :
Available Unlimited
SHARE ON SOCIAL MEDIA :

MARC Information

245 a : Title 
รวมศาสตร์ของพระราชาเพื่อการบริหารจัดการน้ำ 
260 b : Name of publisher 
มูลนิธิมั่นพัฒนา 
260 c : Date of publication 
2564 
300 a : Total pages 
520 a : Description 
รวมศาสตร์ของพระราชาเพื่อการบริหารจัดการน้ำ ด้วยสายพระเนตรและพระอัจฉริยภาพของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่ทรงพระราชทานแนวพระราชดำริในด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำที่ทรงพระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย เพื่อบรรเทาและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้งในระยะสั้นแบบเฉพาะหน้า และในระยะยาวอย่างยั่งยืน สามารถสรุปสาระสำคัญได้ ดังนี้ 1) การบริหารจัดการน้ำแล้ง อาทิ การสร้างอ่างกักเก็บน้ำ การสร้างฝายทดน้ำ และการขุดลอกหนองบึงที่ตื้นเขินให้สามารถระบายน้ำให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมไปถึงเพื่อกักเก็บน้ำเพื่อใช้ในการเพาะปลูกได้ต่อไป 2) การบริหารจัดการน้ำท่วม อาทิ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี เขื่อนขุนด่านปราการชล จังหวัดนครนายก 3) การปรับปรุงลำน้ำที่มีอยู่เดิมให้สามารถเพิ่มศักยภาพการผันน้ำมากขึ้น อาทิ โครงการปรับปรุงคลองลัดโพธิ์ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ และโครงการแก้มลิง เพื่อสำหรับพักมวลน้ำในฤดูน้ำหลากก่อนระบายลงสู่ทะเล เป็นต้น 4) การจัดการน้ำเสียด้วยวิธีการทางชีวภาพ ด้วยการใช้น้ำดีไล่น้ำเสีย และการนำผักตบชวามาเป็นส่วนช่วยในการบำบัดน้ำเสีย ในโครงการต่างๆ เช่น โครงการปรับปรุงบึงมักกะสัน และการใช้หลักกลศาสตร์ด้วยการใช้เครื่องจักรกลเติมออกซิเจนให้กับน้ำเสียเพื่อช่วยบำบัดน้ำเสียได้ดียิ่งขึ้น ข้อมูลโดย มูลนิธิมั่นพัฒนา 

No Reviews

  1. There are no reviews yet, why not be the first.